ห้องสมุดข้อมูล ข่าวสำคัญ Stocks Finance เทคนิค Technique Trade หุ้น สรุปความรู้ต่างๆ เพื่อทบทวนและศึกษา
วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
money management เบื้องต้นเราต้องรู้อาไรบ้าง สำคัญขนาดไหน
วันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Remember the Kid's Game "Pick up Sticks"
I | |
Not that I was good at it when I began playing (trading?). But from the get go I enjoyed the game, despite the drubbings Bob, my older brother, gave me and ever other kid we knew. He was unbeatable at this game. Getting thrashed was a great motivator to figure out what I was doing wrong, and what Bob was doing right.
Every time I played, my eyes were glued on how Bob approached the game. It took me awhile to see he had a strategy that was different than mine. My approach had been to take away the stick that would allow me to get the most sticks after that. His approach was to take the easiest "shots" or "picks", letting others go for the hard ones as they almost always blew it... which left the field wide open for him. Bob went for the low hanging fruit before I even knew what that meant.
Bob's other big advantage was when it came his turn to pick a stick out of a log-jam he did not rush right into it. He took his time and looked at the problem from all angles. Then, and only then, did he proceed; after he had his plan of action.
Another thing he did differently was to play the game by himself. That looked boring to me; after all who are you going to beat? I asked him about that one day how it could be any fun to win against yourself. I will always remember what he said, "I'm not playing now to beat myself, I'm playing now to beat you."
Slowly, ever so slowly, my brother would then begin to make his move and with great focus. The rest of us would talk and joke as we picked up the sticks. Not Bob. No siree, he was all business, totally focused on the task at hand.
Wait for the Door to Open
Look before you leap is one of the first adages we are taught as children. It should be should the first one we are taught as traders. |
I | |
This is a real problem I have had. So I am certain you will have it as well, if you have not already experienced it. The attraction to making money, for people like us, is greater than the potential risk. We are driven more by greed than we are by fear.
We have learned to essentially see what markets are going to do. We learn to predict things, and we have learned to look forward. Thus, we are afraid more of losing the money we "could have made" than losing money we have in our pockets. That's the emotional Achilles heel of traders. Overcome it, and you will succeed.
So how do we get around this, what we do to resolve the situation?
To me, the most helpful thing I have done is to have a checklist to make certain that at least three or four elements of a winning trade are in play. Not on my checklist? Then I simply can't take the trade. I need my checklist to make certain I am not just playing Kamikaze Cowboy. This forces me to a delay my emotions and use my strategies.
It's a little bit like hunting. Once you get your game in site there are three steps to go through; the first is to breathe, secondly to aim and finally, squeeze the trigger. You can't rush into this... it's the same with trading.
I have learned to wait, to be deliberate, to realize almost every trade I entered in my entire life has gone against me, which means 98% of the time there has always been a better place to get in. And for certain, the more emotional I have been about getting into a trade, the worse my entry was. The path of correct action is not an easy one to follow.
Life is Like the Markets
W | |
As just one example; you only get out of life what you put into it. After survival, that is the second law of life. So it is with trading.
Put in "hobby" hours and you will get "hobby" results from your trading. That is not bad; some people don't have more time, or strong passions. Just don't expect professional results from part time efforts.
Invest a lot of time with your kids or spouse, and you get great kids and a great relationship with your wife or husband. Not paying attention to them is the same as not using stops in trading.
From trading I have learned that after a string of great trades, comes some real stinkers. What a life lesson that one has been...after good times I have then been besieged with junk and junk people. I have leaned that life's most beautiful moments are often followed by bad things I would never have imagined.
That is not the lesson though. The lesson is that all this cycles. Don't get drawn down into the negative crap or up too high for the wins... find an emotional balance. When I let all my bad trades get to me I locked up; froze, and could not trade. In life I learned not to be short term concerned about the negatives... they would pass... my duty is to endure.
Who hasn't taken a course or class in communicating or been told that you really need to listen to what the other person is saying? I'm still not a great listener to people, but a darn site better one now than ever before.
Life lessons, market lessons; they can make us better traders and better people. All of us, right? But, how many really put that into practice? Trading taught me to pay attention to what the market was saying; to get into communication with the market. This is done by:
- Dropping my preconceived notions of what the market 'should' do. Just as in a conversation, Listen, don't assume you know what the person will say.
- Sitting back... 4 to 5 feet from my monitor to see what the charts/indicators are really telling me. It is there, all the stuff I am looking for but had not seen. I just have to "look".
วันอาทิตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Trading & Collecting Honey
W | |
There were jars for mom to clean and for us to fill up. Our honey was never heated like that store-bought stuff you probably have in your cupboard. If you heat honey it will stay in solution and not turn solid when cold. However, as pretty as that looks, the heat kills all the good stuff in honey, almost making it inert glucose with a nice flavor.
Anyway, I was always afraid of the bees.
It was for good reason. I had been stung several times; none of which felt good. Dad also got stung a few times, but that did not seem to bother him as much.
One day I asked him about bee bites as we were extracting the sweet honey from the combs. He said, "Son, I do all I can to not get bitten. I wear the right clothes and nets. Smoke my cigar as well... but still... every now and then I get bit just like you. If you are going to get honey, as you see, it takes a lot of work and sometimes you will get bit, that's just the way it is."
"And I'll tell you this; I know those bites hurt you a lot more than they hurt me. That's because you have not been bitten much before, so there is a shock effect to that, but you will get used to it. Part of growing up is learning to endure pain."
"There's another thing as well, when I get bit, I think of the money I can pick up from selling our honey, kinda' takes the entire sting out of it."
วันพุธที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
money and risk management ของเซียนหุ้น มาดูแนวคิดกัน
Paul Tudor Jones
- ในการที่จะทำกำไรสะสมก้อนใหญ่ขึ้นมาได้นั้น คุณต้องเรียนรู้ที่จะขาดทุนสะสมทีละน้อยกว่านั้นมากๆ เมื่อคุณเล่นผิดทางให้ได้เสียก่อน
boyles: นี้น่าจามาจากแนวคิดของ trend following นะครับ ขาดทุนน้อยๆ หลายๆครั้งได้ แต่พอเป็นเทรน จะได้เงินก้อนโตคืนมา
- ผลจากการซื้อขายสัญญาฝ้ายในครั้งนั้นคือจุดเปลี่ยนของชีวิตผม เพราะผมได้มาถึงในจุดที่ผมพูดกับตัวเองว่า “ไอ้โง่เอ๋ย ทำไมแกต้องเสี่ยงทุกอย่างที่แกมีในการซื้อขายเพียงแค่ครั้งเดียววะ? ทำไมแกไม่แสวงหาความสุขให้กับชีวิตแทนที่จะเป็นความเจ็บปวดเล่า
boyles: อันนี้โดนครับ money management ไม่ได้เป็นการบริหารเงินอย่างเดียวนะครับ ต้องบริหารความสุขไปในตัวด้วยอย่างที่ลุงโฉลกบอกไว้ครับ หาจุดสมดุลครับของแต่ล่ะคน
- ผมมักจะคิดถึงแต่เรื่องที่จะขาดทุนเท่าไหร่ มากกว่าจะได้กำไรเท่าไหร่อยู่เสมอ จงอย่าคิดแต่จะทำกำไร แต่จงคิดว่าทำอย่างไรจึงจะปกป้องเงินทุนที่มีอยู่ให้ได้เสียก่อน
boyles: เหมือน jorge soros พูดไว้แป๊ะน่าสนมากครับ กับ idea นี้
- ผมพูดอยู่เสมอว่าปรัชญาการลงทุนของผม คือการแบกรับความเสี่ยงอย่างบางเบา ผมจะมองหาโอกาสที่มีอัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนและความเสี่ยงเป็นอย่างสูงเท่านั้น คุณไม่ควรจะต้องเจ็บตัวจนเข้าเนื้อในการลงทุน นั่นหมายความว่ามันไม่มีความจำเป็นที่คุณจะต้องเดิมพันอย่างมากมาย มันไม่มีเหตุผลที่คุณจะต้องแบกรับความเสี่ยงจนมากเกินไปเลยสักครั้ง เพราะคุณควรจะสามารถมองหาโอกาศที่มีอัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนและความเสี่ยงที่ต่างกันอย่างมากได้ ซึ่งนั่นจะทำให้คุณสามารถที่จะกระจายการลงทุนไปยังโอกาศเหล่านี้ โดยแบกรับความเจ็บปวดเพียงน้อยนิดพร้อมกับผลตอบแทนที่สูงที่สุดนั่นเอง
boyles: เหมือน larry williwams เลยครับ smart money never bet big จำไว้ จำไว้
- คุณต้องรู้จักปรับสภาพ, วิวัฒนาการ, ต่อสู้ หรือไม่ก็ตายไปจากตลาดหุ้น
boyles: เหมือน larry willieams เหมือนกัน It's all about survival
Larry Hite
- หากว่าคุณไม่จัดการกับความเสี่ยงอย่างจริงจัง มันจะจัดการคุณแทน
- พูดตามตรง ผมมองไม่เห็นตลาด ผมมองเห็นแต่ความเสี่ยง ผลตอบแทนและเงินของผม
- เราเล่นกับตลาดในมุมกลับ สิ่งแรกที่เราถามไม่ใช่ว่าเราจะสามารถทำกำไรได้เท่าไหร่ แต่เราจะเสียมากเท่าไหร่ต่างหาก เราเล่นเกมรับเสมอ
- ข้อดีที่สุดอย่างหนึ่งของตลาดหุ้นก็คือ … มันไม่สนใจว่าคุณเป็นใคร ตลาดไม่สนใจว่าคุณจะผิวสีอะไร ตลาดไม่สนใจว่าคุณจะเตี้ยหรือสูง มันไม่เคยสนใจอะไรสักอย่างเดียว และไม่เคยสนใจว่าคุณจะอยู่หรือไปอีกด้วย
- ลักษณะของการเดิมพันนั้นมีอยู่สี่ประเภท นั่นก็คือ การเดิมพันที่ดี, การเดิมพันที่แย่, การเดิมพันที่คุณชนะ และการเดิมพันที่คุณแพ้ อย่างไรก็ตาม การชนะและได้กำไรจากการเดิมพันที่แย่ของคุณคือสิ่งที่อันตรายที่สุด เพราะความสำเร็จจากการเดิมพันลักษณะนี้จะผลักดันให้คุณกล้าเล่นในเดิมพันลักษณะนี้มากยิ่งขึ้นในอนาคต แน่นอนว่าคุณอาจขาดทุนจากการเดิมพันที่ดีไปก็ได้ แต่หากว่าคุณยังคงเลือกที่จะเล่นในการเดิมพันที่ดีต่อไป เมื่อเวลาผ่านไปเรื่อยๆนั้น กฏของค่าเฉลี่ยจะคอยรับใช้เงินของคุณเอง
boyles: รายนี้ก็เน้น protect your capital first เน้นเกมรับอีกราย อย่าเพิ่งคิดถึงกำไรนะครับ รู้จักปกป้องเงินต้นก่อนนะครับ
- เมื่อไหร่ที่ผมเล่นชนะตลาด ผมจะพูดกับตัวเองว่า “ฝีมือตรูเอง แต่ถ้าผมแพ้ผมจะหนีออกมา เพราะผมต้องการที่จะปกป้องเงินของผมไว้ เพื่อที่จะเอาไว้ซื้อหุ้นในครั้งต่อไป
- คุณต้องเรียนรู้ที่จะตัดขาดทุน สิ่งที่สำคัญที่สุดในการที่จะทำกำไรได้นั้น คือการไม่ปล่อยให้การขาดทุนของคุณมันบานเบอะออกไป
boyles: idea ของนักเก็งกำไรชั้นนำของโลกอย่าง jorge soros ก็เช่นกัน กฏข้อแรกของเขา คือก่อนที่จะคิดทำกำไร ต้องรู้จักปกป้องเงินต้นของคุณให้ได้ก่อน สิ่งที่ช่วยคุณได้คือ stoploss และ timing ที่ดีที่สุดของการ stoploss คือ ช่วงแรก ถ้าคุณปล่อยมันไปเรื่อยๆ มันก็ยิ่งทำใจลำบากมากขึ้นเท่านั้นครับBruce Kovner
- ไมเคิล มาร์คัส (สุดยอดเซียนหุ้นคนหนึ่ง) ได้สอนให้ผมรู้จักกับสิ่งที่สำคัญที่สุดนั่นก็คือ : คุณต้องรู้จักยินดีที่จะทำผิดพลาดอยู่เป็นประจำ เพราะมันไม่ใช่สิ่งที่ผิด ไมเคิลสอนผมเกี่ยวกับการตัดสินใจให้ดีที่สุด และผิดพลาด, ตัดสินใจให้ดีที่สุดอีกครั้ง และผิดพลาด และตัดสินใจให้ดีที่สุดเป็นครั้งที่สาม และทำกำไรของคุณสักหนึ่งเด้ง!
Randy Mckay
- เมื่อไหร่ที่ผมเจ็บตัวจากตลาด ผมจะหนีออกมา มันไม่สำคัญหรอกว่ามันจะซื้อขายกันอยู่ที่เท่าไหร่ ยังไงเสียผมก็จะหนีออกมา เพราะผมเชื่อว่าเมื่อไหร่ที่คุณเจ็บตัวในตลาด การตัดสินใจของคุณจะย่ำแย่กว่าตอนที่คุณสบายดีเป็นอย่างมาก และหากว่าคุณยังคงติดหนึบอยู่กับตลาดในขณะที่มันวิ่งสวนทางกับคุณ ไม่ช้าไม่นานมันก็จะพาคุณออกจากตลาดไปเอง
Tom Basso
- ผมคิดว่าจิตวิทยาการลงทุนคือสิ่งที่สำคัญที่สุด ตามมาด้วยการควบคุมความเสี่ยง และสิ่งที่สำคัญน้อยที่สุดก็คือคำถามที่ว่า คุณจะซื้อหรือขายตอนไหนเท่าไหร่ดี
Victor Sperandeo
- กุญแจสำคัญของความสำเร็จในการเก็งกำไรคือ “วินัยการลงทุน” เพราะหากว่าความฉลาดของคุณคือกุญแจสำคัญจริงๆ มันก็คงจะมีคนจำนวนมากที่สามารถจะทำกำไรจากการเล่นหุ้นได้อีกเยอะ ผมเข้าใจว่ามันฟังดูน่าเบื่อ แต่สิ่งเดียวที่เป็นเหตุผลสำคัญที่สุดซึ่งทำให้หลายๆคนหมดตัวจากการเล่นหุ้นก็คือ พวกเขาไม่ยอมตัดขาดทุนอย่างรวดเร็ว
William O’Neil
- ปรัชญาของผมก็คือ หุ้นทุกตัวนั้นแย่ มันไม่ใช่หุ้นที่ดีจนกว่ามันจะทำกำไรให้กับคุณ และหากว่ามันดันร่วงลงไปแทน คุณก็ควรที่จะตัดขาดทุนอย่างรวดเร็วเสีย
Monroe Trout
- จงมั่นใจก่อนว่าคุณมีความได้เปรียบ และจงรู้ให้ดีก่อนว่าความได้เปรียบของคุณคืออะไร
Tony Saliba
- ผมรู้ถึงความเสี่ยงของผมอยู่เป็นประจำ และผมก็ไม่จำเป็นต้องวิตกกับมันอีกต่อไป
Anonymous
- คำว่า TIPS หรือหุ้นเด็ด เป็นการย่อคำจากคำว่า “Trading Is Position Sizing” หรือการเก็งกำไรคือการบริหารเงินทุนต่างหาก