จิตวิทยาการเทรด ผลกระทบจากการเทรดขาดทุน ตอน 2
มาต่อกันนะครับ ถ้าแปลผิดอย่างไร ก็แก้ได้นะครับ รีบๆ แปล มาดูเรื่อง ที่เราจะมาศึกษากันวันนี้ครับ
The Psychology of Trading: The Effect of Trading Losses
จิตวิทยาการเทรด ผลกระทบจากการเทรดขาดทุน
ในตอนที่แล้ว เราได้เกรินไปแล้วว่า หัวข้อเรื่อง money management เป็นหัวข้อที่คนส่วนใหญ่มองข้าม แต่เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของกา รเทรดให้ประสบความสำเร็จ
คราวนี้เราจะมาดูส่วนประกอบที่ส ำคัญที่สุดของจิตวิทยาการบริหาร เงิน นั้นคือ ความเต็มใจที่จะผิดพลาด
คราวนี้เราจะมาดูส่วนประกอบที่ส
มนุษย์เราเติบโตมาโดยการให้ความ สำคัญกับการถูกเสมอ คนที่ทำอะไรถูกต้องจะถูกยกให้เป ็นผู้ชนะ และคนที่ทำผิดก็คือผู้แพ้
ดังนั้นความกลัวที่จะผิดพลาด และความต้องการที่จะเป็นฝ่ายถูก ความคิดเหล่านี้จะเข้ามาหาคุณเอ งโดยอัตโนมัติ โดยถ้าเอามาใช้ในเรื่องของการเท รด จะสิ่งที่เลวร้ายมากในการคิดอย่ างนี้
ดังนั้นความกลัวที่จะผิดพลาด และความต้องการที่จะเป็นฝ่ายถูก
มาดูว่าคนส่วนใหญ่มีความคิดอย่า งไร ในการเทรดได้กำไร
ถูกต้อง = ผู้ชนะ
ถูกต้อง = ประสบความสำเร็จ
เทรดได้กำไร = ถูกต้อง
เทรดได้กำไร = ประสบความสำเร็จ
ถูกต้อง = ประสบความสำเร็จ
เทรดได้กำไร = ถูกต้อง
เทรดได้กำไร = ประสบความสำเร็จ
มาดูคนส่วนใหญ่คิดอย่างไร เมื่อเทรดขาดทุน
ผิดพลาด = ผู้แพ้
ผิดพลาด = ล้มเหลว
เทรดขาดทุน = ผิดพลาด
เทรดขาดทุน = ล้มเหลว
ผิดพลาด = ล้มเหลว
เทรดขาดทุน = ผิดพลาด
เทรดขาดทุน = ล้มเหลว
โอเค เรามาดูกันต่อ เมื่อคุณศึกษาเทคนิคเยอะๆ จนคุณคิดว่าคุณฉลาดมากพอล่ะ ในการเป็นเทรดเดอร์ คุณก็ให้ผมเนี่ยให้แผนการเทรดกั บคุณ และผมก็พูดกับคุณว่า โอเค
ผมจะให้วิธีการเทรดกับคุณนะ วิธีนี้ คุณจะต้องเทรด 100 ครั้งต่อปี ด้วยค่าเฉลี่ยการได้กำไร 100 จุด และเฉลี่ยขาดทุน 20 จุด คุณก็รับแผนการเทรดของผมกลับบ้า นไป
ผมจะให้วิธีการเทรดกับคุณนะ วิธีนี้ คุณจะต้องเทรด 100 ครั้งต่อปี ด้วยค่าเฉลี่ยการได้กำไร 100 จุด และเฉลี่ยขาดทุน 20 จุด คุณก็รับแผนการเทรดของผมกลับบ้า
หลังจากนั้น 2-3 วัน คุณก็ได้กำไร 80 จุดจากการเทรดครั้งแรก คุณดีใจมาก โทรหาเพื่อนคุณมากมาย แล้วบอกว่วาคุณพบระบบที่ดีที่สุ ดแล้ว หลังจากนั้น 5 ครั้งถัดมา คุณก็เสียครั้งล่ะ 20 จุด ดังนั้น 5 ครั้งล่าสุดทำคุณขาดทุนไปทีเดีย ว 100 จุด
แต่คุณดันบอกเพื่อนคุณด้วย เพื่อนคุณจึงขาดทุน 100 จุดตั้งแต่แรกเริ่มทีเดียว ตอนนี้คุณจะรู้สึกแย่มาก และเป็นตัวตลกในหมู่เพื่อนของคุ ณทันที
แต่คุณดันบอกเพื่อนคุณด้วย เพื่อนคุณจึงขาดทุน 100 จุดตั้งแต่แรกเริ่มทีเดียว ตอนนี้คุณจะรู้สึกแย่มาก และเป็นตัวตลกในหมู่เพื่อนของคุ
วันต่อมาคุณจึง เดืนมาหาผม แล้วก็ด่าผมถึงระบบแย่ๆอันนี้ ผมก็เลยให้ระบบใหม่กับคุณ ระบบนี้เทรด 100 ครั้งต่อปีเหมือนกัน แต่มีอัตราการชนะมากกว่า ซึ่งผมคิดว่า เขาน่าจะพอใจกับระบบเทรดอันใหม่ นี้ แล้วคุณก็เอากลับบ้านไปทดลอง
หลังจากนั้น คุณก็เทรดติดต่อกันมา 5 ครั้ง ได้กำไรครั้งล่ะ 10 จุด ตอนนี้คุณจึงได้กำไรมา 50 จุด และคุณตื่นเต้นกับมันมาก รีบบอกเพื่อนคุณ ภรรยาคุณ ว่าคุณเจอระบบที่สมบูรณ์แล้ว แล้วก็ show statement ให้เพื่อนคุณดูเป็นการแก้แค้น
หลังจากนั้น คุณก็เทรดติดต่อกันมา 5 ครั้ง ได้กำไรครั้งล่ะ 10 จุด ตอนนี้คุณจึงได้กำไรมา 50 จุด และคุณตื่นเต้นกับมันมาก รีบบอกเพื่อนคุณ ภรรยาคุณ ว่าคุณเจอระบบที่สมบูรณ์แล้ว แล้วก็ show statement ให้เพื่อนคุณดูเป็นการแก้แค้น
ลองถามคุณดูว่า จากตังอย่าง ระบบ 2 อันนี้ คุณจะเลือกอันไหน
System 1 system 2
day 1 winner winner
day 3 loser winner
day 6 loser winner
day 9 loser winner
day 12 loser winner
day 15 loser winner
day 1 winner winner
day 3 loser winner
day 6 loser winner
day 9 loser winner
day 12 loser winner
day 15 loser winner
จากประสบการณ์ผม นักเทรดส่วนใหญ่จะเลือกระบบที่ 2 โดยปราศจากความคิดเพิ่มเติม ถึงแม้ว่าระบบที่สองอาจจะเสียเพ ียงแค่ 2-3 ครั้ง อาจจะทำให้คุณสุญเสียกำไรของคุณ ทั้งหมดเลยก็ได้
แต่ถ้าเป็นนักเทรดที่ประสบความส ำเร็จ จะต้องการรู้ข้อมูลมากกว่านี้ขอ งทั้ง 2 ระบบ ตามที่จะอธิบายต่อไปนี้
ถ้าไม่นับค่าคอม ระบบแรก ผมต้องการถูกต้อง 1 ครั้งสำหรับการผิดทุกๆ 5 ครั้ง เพื่อที่จะขาดทุน การเทรด 6 ครั้งดังในตัวอย่างจะไม่เพียงพอ ที่จะวัดผลการเทรดได้ และมันก็เป็นไปได้เหมือนกันที่จ ะขาดทุนติดต่อกัน 10 ครั้งโดยเมื่อเทรดจนครบปี จบด้วยการได้กำไรในท้ายที่สุด
ระบบที่สอง จะได้กำไรครั้งล่ะน้อยๆ และจุดตัดขาดทุนจะกว้าง ดังนั้นระบบนี้จึงมีโอกาสที่ผิด พลาดไม่กี่ครั้งก็อาจจะทำให้กำไ รหายหมดเช่นกัน
ระบบเทรดที่ทำกำไรได้ส่วนมากจะเ ป็นระบบในแบบที่ 1 ที่จำขาดทุนเล็กๆ น้อยๆ หลายๆครั้ง ก่อนที่จะทำกำไรก้อนโตจากการวิ่ งครั้งใหญ่ๆ ไม่กี่ครั้ง แต่นักเทรดส่วนมากไม่สามารถทนได ้ในระหว่างที่ขาดทุนเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้ได้ และเลิกเล่นไปก่อน ที่จะให้โอกาสระบบได้พิสูจน์ตัว เอง
สรุปบทเรียนนี้ คุณควรจะเข้าใจ สาเหตุและผลกระทบของการเทรดขาดท ุนในแต่ล่ะครั้ง ซึ่งมันหลีกเลี่ยงไม่ได้อยู่แล้ ว เพื่อเตรียมตัวในการตัดสินระบบต ่างๆ ว่าดี หรือแย่อย่างไร
ในบทเรียนต่อไป เราจะมาดูกันว่า 2 อย่างที่ผิดพลาด ที่ทำให้นักเทรดมากมายต้องเดินอ อกจากตลาดไปคืออะไร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น